AIDS & STIs Section
หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ประจำปีพ.ศ. 2565
![]() |
โรงแรมเอวัน เดอะรอยัส ครูส พัทยา จังหวัดชลบุรี วันที่ 29 – 31 สิงหาคม 2565 |
คู่มือและเอกสารเก็บข้อมูล HIV Recency SUR Y65 
![]() |
คู่มือและเอกสารเก็บข้อมูล HIV Recency SUR Y65 |
เอกสารประกอบการอบรม Recency Surveillance 
![]() |
เอกสารประกอบการอบรม Recency Surveillance ปี พ.ศ. 2565 |
คู่มือเฝ้าระวัง RDS SW 
![]() |
คู่มือการดำเนินงาน IBBS ในกลุ่มพนักงานหญิงบริการ ในและนอกสถานบริการ โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเครือข่าย พ.ศ. 2562 |
คู่มือเฝ้าระวังความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี (HSS) 
![]() |
คู่มือเฝ้าระวังความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี (HSS) |
สถานการณ์ทั่วโลกของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
![]() |
- กรมควบคุมโรค - สถานการณ์ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ที่แพร่ระบาดหนักในประเทศจีน และอีกหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย |
ติดตามสถานะการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
![]() |
- โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) - ตรวจสอบสถานะการณ์ทั่วโลก |
Estimation of PrEP Targets for Key and High-Risk Populations in Thailand 
![]() |
- ดาวน์โหลดเอกสาร Estimation of PrEP Targets for Key and High-Risk Populations in Thailand |
หนังสือขอความร่วมมือเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ประจำปี 2562 (BSS,HSS) 
![]() |
หนังสือขอความร่วมมือเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี ประจำปี 2562 (BSS,HSS) |
การรายงานโรคและติดตามเฝ้าระวังฯ (AIDS 43 แฟ้ม) 
![]() |
เอกสารการรายงานโรคและติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และไวรัสตับอักเสบ ผ่านระบบรายงานข้อมูลสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข |
หนังสือขอความร่วมมือเฝ้าระวัง HSS & BSS & BED 2561 
![]() |
หนังสือขอความร่วมมือเฝ้าระวัง HSS & BSS & BED 2561 |
ไฟล์วิเคราะห์ 5 มิติ 
![]() |
ในอดีตที่ผ่านมา ระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ยังมีปัญหาการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อนและกระจัดการจายตามหน่วยงานต่างๆ... |
พจนานุกรมอังกฤษ เกี่ยวกับโรคเอดส์ 
![]() |
Language shapes beliefs and may influence behaviours. Considered use of appropriate language has the power to strengthen the global response to the AIDS epidemic. That is why the Joint United Nations Programme on HIV/AIDS (UNAIDS) is pleased to make these guidelines to Preferred terminology freely available for use by staff members, colleagues in the Programme’s 11 Cosponsoring organizations and other partners working in the global response to HIV. |
แผนยุทธศาสตร์ UNAID 2016-2021 
![]() |
UNAIDS Strategy for 2016–2021 Fast-tracking to zero DRAFT FOR REVIEW 3 August |
ข้อมูลการดำเนินงานโรคเอดส์ของกัมพูชา 
![]() |
กัมพูชา มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือคาเต็มเรียกว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประเทศที่มีพรมแดนทางทิศใต้จรดกับอ่าวไทย ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดสระแก้ว จันทบุรีและตราดและทิศเหนือติดกับจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์และลาวทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม (ชายแดนติดกับลาว 541 กิโลเมตร, ประเทศไทย 803 กิโลเมตร และเวียดนาม 1,228 กิโลเมตร โดยมีชายฝั่งทะเลยาว 443 กิโลเมตร มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร... |
กรอบตัวชี้วัดเกี่ยวกับโรคเอดส์ระดับโลก 
![]() |
UNAIDS Strategy for 2016–2021 Fast-tracking to zero DRAFT FOR REVIEW 3 August |
การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์ในการติดเชื้อเอชไอวี
กิจกรรมการสำรวจพฤิตกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไป ได้เริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 โดยสภากาชาดไทยร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการสำรวจพฤติกรรมทางเพศในกลุ่มประชากรทั่วไป เพื่อให้ได้ข้อมูลพฤติกรรมที่สามารถเป็นตัวแทนในระดับชาติได้ ซึ่งต่อมาได้มีการสำรวจซ้ำอีกครั้งในปี พ.ศ. 2536 โดยสถาบันประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2534 ถึง 2536 ได้มีหลายหน่วยงานพยายามจัดตั้งระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทยขึ้น เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในกลุ่มประชากรที่แต่ละหน่วยงานสนใจ เช่น การติดตามพฤติกรรมในกลุ่มทหารเกณฑ์ในภาคเหนือตอนบนโดยกองทัพบกไทยร่วมกับมหาวิทยาลัยจอห์นฮอบกิ้นส์ และการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีในประชากร 3 กลุ่มในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผู้มาใช้บริการที่คลินิคกามโรค กลุ่มคนงานโรงงานอุตสาหกรรม และนักเรียนในโรงเรียนอาชีวศึกษา โดยกรุงเทพมหานคร กองกามโรค กระทรวงสาธารณสุข และ AIDSCAP เป็นต้น
ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 กองระบาดวิทยาได้พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีขึ้น โดยได้นำแนวคิดและวิธีการดำเนินการเฝ้าระวังพฤติกรรมของกรุงเทพมหานคร กองกามโรค และ AIDSCAP มาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะสมกับการดำเนินงานเฝ้าระวังในระดับประเทศ ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ ของกองระบาดวิทยา ได้เริ่มดำเนินการเก็บข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ในประชากร 4 กลุ่มๆ ละ 350 คนต่อจังหวัด ได้แก่ กลุ่มทหารกองประจำการ กลุ่มคนงานชายและหญิงในโรงงานอุตสาหกรรม และหญิงตั้งครรภ์ ดำเนินการเก็บข้อมูลปีละ 1 ครั้งในเดือนมิถุนายน โดยใช้แบบสอบถาม (Self-administer questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้เริ่มดำเนินการเฝ้าระวังในกลุ่มประชากรนักเรียนชายและหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ตลอดเวลาที่ผ่านมา กองระบาดวิทยาได้พยายามปรับปรุง และพัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมพฤติกรรมฯ ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยได้ดำเนินการปรับปรุบงทั้งด้านระเบียบวิธีการเฝ้าระวัง ข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรม และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล อ่านเพิ่มเติม